ในขณะที่สถานการณ์น้ำทยอยคลี่คลายไปทีละพื้นที่ผุ้คึนเริ่มกลับไปใช้ชีวิตตามปรกติ
แต่ยังมีคำถามอีกมากมายค้างคาอยู่ปีหน้าน้ำจะท่วมอีกไหม น้ำจะมาเมื่อไหร่
เราจะรู้ได้ยังไง แล้วเราจะรับมือกับมันยังไง
The flooding is
gradually easing across the country and people are starting to resume
their normal lives, but the questions are still flooding in. Will it
flood next year? When will it flood? How will we know? And how will we
deal with it?
เราจะทำยังไงให้น้ำท่วมคราวนี้เป็นบทเรียนให้เราเข้มแข็งขึ้นในคราวหน้าเพื่อให้เราไม่เป็นเหมือนที่หลายคนพุดกันว่า
คนไทยลืมง่าย วันนี้เรามี 9 เรื่องในน้ำท่วมที่เราไม่อยากให้ลืมมาให้ดู
How can we learn
from the present floods to ensure that we’re stronger next time they
come? To make sure we don’t live up to the stereotype of “forgetful
Thais”, today we’ll take a look at “9 things about the flood that we
shouldn’t forget”.
1. เราจะเสียหายไปอีกนานแค่ไหน
น้ำท่วมครั้งนี้ก่อให้เกิดความเสียหายมูลค่ากว่า 1.4 ล้านล้านบาท
คำว่ามูลค่าการเสียหายไม่ใช่แค่ข้าวของที่พัง
แต่สิ่งสำคัญของความเสียหายที่เราไม่เคยนึกถึงคือ ค่าเสียโอกาส
สมมุติว่าเราเป็นนักเขียนได้เงินเดือน เดือนละ 20,000 บาท ทำงานด้วยโต๊ะ
1000 บาท คอมพิวเตอร์ 1ตัว 30000 บาท
ถ้าน้ำท่วมจนคอมพิวเตอร์พังจนความเสียหายไม่ใช่แค่ 31000
แต่คุณยังเสียโอกาสที่จะได้เงิน 20000 บาทไปด้วย
ของที่เสียเราซ่อมเราซื้อใหม่ได้ แต่เราซื้อเวลาคืนไม่ได้
ถ้าเราไม่เริ่มสนใจการแก้ปัญหาน้ำท่วมเราอาจต้องจ่ายค่าเสียโอกาสในปีต่อไปเรื่อยๆ
1. How long will the
damage last?
The current floods have causes losses of over Bt1.4trillion. These
“losses” don’t just refer to tangible objects, but most importantly we
have to take into account the kind of things we don’t normally think
of, like lost opportunities. Say that you’re a writer, earning Bt20,000
a month. You work at a desk costing Bt1,000 on a computer worth
Bt30,000. If the flood gets to your desk and computer, your losses
won’t just be Bt31,000 as you’ll have also lost the opportunity of
earning Bt20,000. If mere objects are damaged, we can repair them or
buy new ones, but we can never buy back time. Unless we start to take
an interest in news and information concerning solutions to flooding,
we might have to pay out even more for lost opportunities next time.
2.
โลกเราไม่เหมือนเดิน
ตำราเรียนสมัยเด็กๆสอนเราว่าประเทศไทยเป็นประเทศที่อุดมสมบูรณ์
แต่เวลาผ่านไปก็ย่อมมีความเปลี่ยนแปลง สถิติบอกว่า
เรามีพื้นที่สีเขียวมากขึ้นและความเข้าใจอย่าง 1
ที่เราควรรู้คือต้นไม้ไม่ใช่ป่า
ป่าที่มีคุณภาพไม่ใช่ต้นไม้สีเขียวดังที่สถิติบอก
แต่เป็นป่าที่มีความหลากหลายทางชีวภาพเมื่อฝนตกลงมาพันธุ์พืชในป่าชีวภาพจะดูดซับน้ำได้ดีกว่า
ป่าที่ไม่มีความหลากหลายทางชีวภาพเป้น 10 เท่า
หลายคนอาจคิดว่าจะปลูกป่าตอนนี้ก็ไม่ทันแล้ว
แต่เราจะอยู่เฉยๆให้มันแย่ลงหรือ
ทำให้มันดีขึ้นเมื่อระบบนิเวศน์เริ่มส่งผลกับชีวิตเราอย่างชัดเจน
2. Our world has
changed:
Our school textbooks taught us that Thailand was a country
rich in natural resources. But as time passes, things are bound to
change. According to statistics the total area of greenspace in
Thailand has grown, but an area full of trees doesn’t always mean it’s
a forest. A forest refers an area rich in biodiversity of flora and
fauna. When it rains, the many species of flora absorb the water and
lessen the impact of the rain before it reaches the soil. But forest
plantations containing a single species of tree absorb ten time less
water than a forest with biodiversity. You might think that it’s too
late to start planting trees, but if we sat round doing nothing the
situation – which is already starting to severely affect us– would only
get worse.
3.
เรามีกระบวนการจัดการพร้อมกว่าที่คิด
เรามีน้ำฟ้า น้ำท่า น้ำทุ่ง น้ำท่วม
น้ำฟ้าคือกรมอุตุนิยมวิทยาจัดการข้อมูล
กรมชลประทานและหน่วยงานท้องถิ่นจัดการลำน้ำในพื้นที่และน้ำที่อยู่นอกเหนือลำน้ำ
จนมาถึงสำนักระบายน้ำจัดการระบายน้ำท่วม
ส่วนสำคัญที่สุดของการจัดการน้ำก็คือข้อมุลที่จะทำให้เราสามารถประเมินสถานการณ์น้ำได้
หลายคนอาจคิดว่าเราไม่มีข้อมูลผิดถนัด เพราะเรามีข้อมูลดิบมากมาย
แต่เราขาดสภาพการแปรข้อมูลดิบให้เป็นข้อมูลที่นำไปใช้ประโยชน์ได้
แม้ในปีที่ปริมาณน้ำฝนสูง
การรู้ระดับน้ำการรู้ผังเมืองอาจช่วยให้น้ำไม่ท่วม
แต่การใช้ข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพจะช่วยให้เราพยากรณ์น้ำและลดความเสียหายได้
3. We’ve got more
information to hand than you think:
When we think of water, we can separate it into water in the sky, water
in our ports, water in the fields, and floodwater. The water in the sky
is dealt with by the Meteorological Department, which draws up weather
data. The Irrigation Department and other local organizations deal with
local waterways, and any water outside these waterways is dealt with by
the Department of Drainage and Sewerage, which is responsible for
floodwater. The most important thing when dealing with the water is
information; the information we need to assess the situation. If you
think that the problem is lack of information, you’re wrong. We’re
deluged by raw data; the difficulty is translating this raw data into
the kind of information we can easily make use of. Information alone
cannot prevent floods when there’s lots of rain, but knowledge of water
levels and of town plans, and the effective use of this information,
will help us model the situation so that we can make forecasts and
reduce the level of damage.
4.
เราเอาชนะธรรมชาติไม่ได้
เราอาจจะคิดว่าถ้าเรามีระบบการจัดการน้ำที่ดีและจะช่วยให้น้ำไม่ท่วมได้
ถ้าเราลองพึ่งระบบให้น้อยลงพึ่งตนเองให้มากขึ้นให้รัฐบาลหรือหน่วยงานที่เกียวข้องยื่นมือเข้ามาช่วยในกรณีที่ขาดเหลือ
เพียงเท่านี้เราอาจไม่ต้องเอาชนะรรมชาติแต่อยู่ร่วมกับธรรมชาติ
4. We can’t beat
nature:
You might wonder if a good water control system will stop the flooding.
Just take a look at this picture. This is a flood. This is a dam. The
dam has limitations in terms of how much water it can cope with. Dams
are useful in storing water and producing electricity, but they’re not
the answer to everything. Dams alone can’t stop either flooding or
droughts. But if we start relying less on the system and more on
ourselves, allowing the government or other agencies to lend a hand
where it’s needed, we can think less of beating nature and more of
working together with nature.
5.
บ้านเราทุกคนอยู่บนแผนที่
สิ่งที่เกียวข้องกับการระบายน้ำโดยตรงคือการวางผังเมือง
ซึ่งคือการควบคุมพื้นที่ที่น้ำจะไหลผ่านให้เกิดผลกระทบน้อยที่สุดแต่เราเคยคิดหรือเปล่าว่าบ้านเราทุกคนอยู่บนแผนที่เช่นการถมที่ให้สูงขึ้นหากเราไม่ศึกษาให้ดีก็อาจเป็นการกีดข้างเส้นทางของน้ำได้เรามีกฎหมายผังเมืองที่ถูกเขียนขึ้นอย่างมีเหตุผลหากเราไม่สนใจคิดถึงแต่ตัวเองเรื่องที่เราคิดว่าเล็กน้อยอาจส่งผลต่อผู้อื่นมากกว่าที่เราคิด
5. Our homes are all
on the map:
One thing that’s directly related to drainage is town
planning. Town planning controls the area through which water passes to
ensure that it has minimum impact. Has it ever occurred to you that our
homes are a part of the map? If we raise the ground at home, we could
be preventing water from draining. Town planning laws are written for a
reason. If we disregard them and only think of our own selfish gains,
the things we think of as tiny can affect more people than we think.
6. รู้สิทธิรู้หน้าที่
รู้จักพระราชบัณญัติบรรเทาละสาธารณะภัย
มีบ้างคนรู้แต่น้อยคนที่จะปฏิบัติในพระราชบัญัติกำหนดให้หน่วยงานดังกล่าวต่างๆ
ทำแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณะภัย
แผนที่ระบุหน้าที่ของหน่วยงานต่างๆอย่างชัดเจนเมื่อเกิดสาธารณะภัย
รวมถึงกำหนดให้สาธารณะชนอย่างเรามีหน้าที่ปฏิบัติตามแต่แผนดังกล่าวม่ถูกนำมาใช้โดยตามสิทธิแล้วเรามีสิทธิที่จะฟ้องร้องรัฐบาลได้
แต่สิทธิมาพร้อมหน้าที่เสมอก่อนที่เราจะใช้สิทธิใดๆ หน้าที่ 1
ที่ประชาชนต้องทำตามกฎหมายนั่นเอง
6. Know your rights
and duties:
Are you aware of the Disaster Prevention and Mitigation Act? Some of
you may have heard of it, but what few people know is that this act
gives government agencies the responsibility of drawing up “Disaster
Prevention and Mitigation Plans”. These plans clearly delineate the
role of each agency should a disaster occur, and outline the roles of
members of the public in terms of following the orders of officials.
But these plans were never used over the past year and we have the
right to sue the government for that. But the public also has a duty to
know the law. Before you start using your rights, think about how well
you know your duties.
7. รถยนต์ล้นเมือง
ในกรุงเทพมีรถยนต์วิ่งบนท้องถนนประมาณ 4 ล้านคัน
ถ้าเราเอารถทั้งหมดจอดบนถนนทุกสายทั่วกรุงเทพจะกินพื้นที่ไป 2 เลนเต็มๆ
น้ำท่วมที่ผ่านมามีการเปิดพื้นที่ให้จอดรถหนีน้ำฟรีประมาณ 7 หมื่นคัน หรือ
1.75% ของรถทั้งหมด
เมื่อมีปริมาณที่จอดรถไม่เพียงพอหลายคนจึงนำรถไปจอดบนทางด่วนส่งผลให้การจราจรติดขัด
บ้างก็กีดข้างการจราจรของรถที่จะไปให้ความช่วยเหลือ
จริงอยู่ที่เราจะมีชีวิตอยู่ในแบบที่เราต้องการแต่ลองทบทวนแล้วหรือยังว่าสิทธิของเราไปเบียดเบียนผู้อื่นหรือไม่
7. Our cities are
flooded with cars:
In Bangkok alone, there are around 4 million cars on
the roads. If we park them end to end, they’d fill up 2 lanes on every
road in the capital. During the recent floods, parking space was made
for around 70,000 cars to avoid the floodwater, or around 1.75% of the
total number of cars. Since there weren’t enough parking places
available, lots of people parked on the expressways, which worsened the
traffic jams and in some cases obstructed the aid and rescue vehicles.
We might have the right to live our lives as we choose, but have you
ever thought how the exercise of your rights might encroach on the
rights of other people?
8.
ให้ทุกอย่างรู้เท่าทัน
ในวิกฤตครั้งนี้ยอดบริจาคสูงเป็นประวัติการณ์อีกทั้งยังมีอาสาสมัครรูปแบบใหม่ๆเกิดขึ้นมากมายแต่ในขณะเดียวกันก็มีคดีโกงเงินบริจาคเกิดขึ้นเช่นกัน
เรามีส่วนร่วมในการบริหารน้ำใจดีๆ
ของคนไทยไว้ได้ช่วยกันเป็นหูเป็นหูเป็นตาหากเราสนับสนุนกับการบริจาคกับหน่วยงานที่เปิดเผยข้อมูลชัดเจนเป้นแรงผลักดันให้ทุกหน่วยงานมาเปิดเผยข้อมูลบริจาคจะช่วยบรรเทาการทุจริต
8. Informed
donating:
The recent flood saw an unprecedented level of charitable
donations, as well as the emergence of several new breeds of
volunteers. But at the same time, we hear of charity money being
embezzled. We all have a part to play in maintaining the kind-
heartedness of the Thai people by being on the lookout. We need to
encourage donations to organizations with a transparent policy, as this
will encourage transparency among organizations and can help reduce
fraud.
9. รู้ไม่ทันข่าว
ตามหลักของการเขียนข่าวเรื่องใดที่สดเด่นเป้นที่สนใจแปลกประหลาดหรือแม้แต่เรื่องขบขันมักจะถูกคัดเลือกให้เป็นข่าว
แต่บ่อยครั้งที่ความจริงและความคิดเห็นถูกสอดแทรกมาอยู่ในข่าวชนิดที่เรียกว่าแยกแทบไม่ออกแค่วลีที่ว่า
“เสียหาย 1 หมื่นบาท” กับ “เสียหายถึง 1 หมื่นบาท”
แค่เพิ่มคำหรือขนาดของหนังสือให้ใหญ่ขึ้นก็ให้ความรุ้สึกที่แตกต่างกัน
และยิ่งในยุคที่ เฟคบุ๊ค หรือ ยูทูบ
เป็นที่นิยมในวงกว้างทุกคนสามารถเป็นสื่อได้ด้วยตนเอง
เรายิ่งต้องมีสติในการรับสื่อมากขึ้นหากเราแยกแยะไม่ได้ถึงประโยคไหนเป็นความคิดเห็นประโยคไหนเป็นความจริง
เราอาจถูกชักจูงไปในทางที่ผิดทิศทางใดก็ได้ด้วยอำนาจของสื่อ
9. Keeping up with
the news:
According to journalistic principles, any story that’s fresh, stands
out, is interesting, strange, or even simply funny, is considered
newsworthy. But sometimes “the facts” and “opinions” get muddled in a
way that is impossible to separate. The phrases “Losses of ten thousand
Baht” and “Losses of up to ten thousand Baht” show that just adding a
word or expanding a phrase can change a story’s message. In the age of
Facebook and YouTube, when we can all act as journalists, it’s
especially important that we receive the news using our common sense.
If we fail to distinguish between opinion and fact, the power of the
media can easily lead us astray.
และนี่คือ 9 เรื่องในน้ำท่วม
ที่ไม่อยากให้ลืมเพราะถ้าเราลืมความเสียหายจะเกิดซ้ำแล้วซ้ำเล่าเราจะไม่สามารถแก้ปัญหาได้อย่างยิ่งยืนถ้าเราไม่รู้จักว่าบ้านเราเป็นเช่นไรไม่รุ้ว่าที่ผ่านมาเราเคยจัดการปัญหาอย่างไรไม่เริ่มยืนหยัดด้วยตัวเราเองไม่คิดทุกคนคือส่วนหนึ่งของสังคมถ้าเรารุ้สิทธิหน้าที่ของเราเองเราก้จะเพิ่งตัวเองได้โดยไม่เบียดเบียนคนอื่นมีส่วนร่วมกับสังคมด้วยความรอบคอบและสนใจประเทศชาติอย่างมีสติ
Those, then, are the
“9 things about the floods that we shouldn’t forget”. So why shouldn’t
we forget them? Because if we forget, we’ll suffer loss after loss. We
will never find a lasting solution if we don’t know the nature of our
home, if we don’t know how we dealt with problems in the past, if we
don’t start standing on our own two feet, if we don’t realize that each
individual is a member of society.
ถ้าเรารุ้สิทธิหน้าที่ของเราเองเราก้จะเพิ่งตัวเองได้โดยไม่เบียดเบียนคนอื่นมีส่วนร่วมกับสังคมด้วยความรอบคอบและสนใจประเทศชาติอย่างมีสติ
We must be aware of
our own rights and duties. Rely on ourselves without imposing on
others. Play a well thought-out role in society. And take a reasoned
interest in our nation.
การแก้ปัญหาที่ยั่งยืนอาจไม่ใช่โครงการ 100ล้าน 1000 ล้าน
แต่คือความรุ้ของประชาชนที่จะช่วยให้เรารับมือกับทุกปัญหาได้
ความรู้ไม่มีขามันไม่สามารถเดินมาหาเราเองได้
เทคโนโลยีทำให้เราเข้าถึงความรู้ได้ง่ายขึ้นแล้วเราละเริ่มที่จะคิดเดินเข้าหาความรู้หรือยังถึงตรงนี้แล้วถ้ายังไม่รู้จะเริ่มต้นหาความรู้ยังไง
เราได้ร่วมทั้ง 9 เรื่องในน้ำท่วมที่เราไม่อยากให้ลืม ร่วมถึง
ช่องทางสำรับต่อยอดความรู้เอาไว้ในลิงค์ด้านล่างเล้ว ลองศึกษากันดูนะครับ
สุดท้ายแล้วสังคมไทยจะเป็นแบบไหนเราจะเป้นคนไทยที่ลืมง่ายหรือเป็นคนไทยที่ใฝ่รู้ทุกอย่างล้วนขึ้นอยู่กับเราคนไทยทุกคนครับ
A lasting solution
doesn’t have to be mega project that costs millions. The solution could
simply be the collective knowledge of the people. But knowledge doesn’t
grow on trees in our backyard. Nowadays, we can have easy access to
knowledge with the help of technology. The question is when are we
going to get up and go find this knowledge? And if you don’t know where
to start to gather knowledge, we’ve put together these 9 things about
the floods that you shouldn’t forget, as well as further ways to
explore the links below. Have a look at them, and then think of how you
want our society to be forgetful and ignorant or knowledge-seeking?
Everything depends on us, on each and every one of the Thai people.
|